TOP GUIDELINES OF ไตรโคเดอร์ม่า

Top Guidelines Of ไตรโคเดอร์ม่า

Top Guidelines Of ไตรโคเดอร์ม่า

Blog Article

หากกระบวนการผลิตไม่ได้มาตรฐาน อาจมีสิ่งเจือปน เช่น วัชพืช แบคทีเรีย หรือ ไวรัส ต่างๆ ที่เป็นอันตรายต่อพืช

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

สถาบันวิจัยพืชสวน สถาบันวิจัยพืชสวน

สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ เราใช้คุกกี้เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น คลิกเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม "นโยบายความเป็นส่วนตัว" และ "นโยบายคุกกี้" ยอมรับ

ปุ๋ยหมัก หมายถึง ปุ๋ยที่ต้องผ่านกระบวนการหมักก่อนนำไปใช้งาน ด้วยการนำวัสดุเหลือใช้ที่เป็นสารอินทรีย์มาหมักจนกว่าจุลินทรีย์จะทำงานเสร็จสิ้น แล้วได้เป็นปุ๋ยที่มีความทนทานต่อการย่อยสลายเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารในปุ๋ยหมักก็จะแตกต่างกันไปตามแต่วัสดุที่เราเลือกใช้ เช่น ถ้าใช้ฟางข้าวมาหมักก็จะได้ปุ๋ยที่มีโพแทสเซียมสูง ถ้าใช้ซังข้าวโพดมาหมักก็จะได้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เป็นต้น กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แนะนำถึงลักษณะของปุ๋ยหมักที่ดีเอาไว้ว่า ต้องมีเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม เปื่อยยุ่ย และมีสีน้ำตาลปนดำ ข้อดีที่โดดเด่นของปุ๋ยหมักก็คือการปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช เนื้อดินจะมีความร่วนซุยและมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น แบคทีเรียชนิดดีที่อยู่ในดินก็จะเพิ่มปริมาณขึ้นด้วย แต่ข้อเสียคือต้องมีความเข้าใจถึงวิธีการทำและใส่ใจดูแลตลอดระยะเวลาหมัก จึงจะได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพตามต้องการ

 ◄ผลิตภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า พร้อมใช้

ปุ๋ยชีวภาพที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์สร้างธาตุอาหารพืช จุลินทรีย์ที่ถูกเลือกใช้ในการผลิตปุ๋ยชีวภาพประเภทนี้ จะต้องมีคุณสมบัติในการสร้างธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชได้ด้วยตัวเอง ตามข้อมูลจากกรมวิชาการเกษตรที่ระบุไว้ในคู่มือปุ๋ยชีวภาพกล่าวว่า ปัจจุบันเราพบจุลินทรีย์ที่น่าสนใจเพียงแค่กลุ่มเดียวเท่านั้น คือกลุ่มจุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน ประกอบด้วยแบคทีเรียและแอคทีโนมัยซีท จุลินทรีย์เหล่านี้จะมีชุดยีนพิเศษที่ตรึงไนโตรเจนจากอากาศได้ และควบคุมการสร้างเอนไซม์ไนโตรจีเนสได้ด้วย การเจาะลึกในส่วนของความสัมพันธ์กับพืชอาศัยจะช่วยให้เราเข้าใจได้มากขึ้น ดังนี้

ปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์ เช่น มูลวัว มูลค้างคาว มูลไส้เดือน มูลไก่ หรือ อื่นๆ

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว

นอกจากนั้น ปุ๋ยละลายช้า ยังมีข้อดีในแง่สิ่งแวดล้อมอีกด้วย click here เพราะมันยังช่วยลดปริมาณสารเคมีที่ถูกชะล้างจากแหล่งเพาะปลูกลงไปสู่แหล่ง ที่มีน้ำธรรมชาติอีกด้วย

ทำการกรองเอาเฉพาะสปอร์เทลงถังฉีดพ่น 

“ธาตุอาหารรอง” หมายความว่า ธาตุอาหารมักเนเซียม คัลเซียม และกำมะถัน

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนครราชสีมา

ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรนราธิวาส

Report this page